พ.ศ. 2489 เนื้อหา ผู้นำ เหตุการณ์ วันเกิด วันถึงแก่กรรม รางวัล รายการเลือกการนำทางแก้เพิ่มข้อมูล
พ.ศ. 2489บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์
ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารปฏิทินเกรกอเรียน
(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());
พ.ศ. 2489
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ศตวรรษ: |
|
---|---|
ปี: |
|
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2489 |
ปฏิทินเกรกอเรียน | 1946 MCMXLVI |
Ab urbe condita | 2699 |
ปฏิทินอาร์เมเนีย | 1395 ԹՎ ՌՅՂԵ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6696 |
ปฏิทินบาไฮ | 102–103 |
ปฏิทินเบงกาลี | 1353 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2896 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 10 Geo. 6 – 11 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2490 |
ปฏิทินพม่า | 1308 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7454–7455 |
ปฏิทินจีน | 乙酉年 (ระกาธาตุไม้) 4642 หรือ 4582 — ถึง — 丙戌年 (จอธาตุไฟ) 4643 หรือ 4583 |
ปฏิทินคอปติก | 1662–1663 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3112 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1938–1939 |
ปฏิทินฮีบรู | 5706–5707 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2002–2003 |
- ศกสมวัต | 1868–1869 |
- กลียุค | 5047–5048 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11946 |
ปฏิทินอิกโบ | 946–947 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1324–1325 |
ปฏิทินอิสลาม | 1365–1366 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 21 (昭和21年) |
ปฏิทินจูเช | 35 |
ปฏิทินจูเลียน | เกรกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4279 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 35 民國35年 |
พุทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีจอ อัฐศก จุลศักราช 1308 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
เนื้อหา
1 ผู้นำ
2 เหตุการณ์
3 วันเกิด
3.1 มกราคม
3.2 กุมภาพันธ์
3.3 มีนาคม
3.4 เมษายน
3.5 พฤษภาคม
3.6 มิถุนายน
3.7 กรกฎาคม
3.8 สิงหาคม
3.9 กันยายน
3.10 ตุลาคม
3.11 พฤศจิกายน
3.12 ธันวาคม
3.13 ไม่ทราบวัน
4 วันถึงแก่กรรม
5 รางวัล
5.1 รางวัลโนเบล
ผู้นำ
พระมหากษัตริย์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
นายกรัฐมนตรี
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (17 กันยายน พ.ศ. 2488 - 31 มกราคม พ.ศ. 2489)
พันตรี ควง อภัยวงศ์ (31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489)
ปรีดี พนมยงค์ (24 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489)
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490)
เหตุการณ์
10 กุมภาพันธ์ – ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 19 ณ สนามกีฬาโมนูเมนตัล กรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา
2 มีนาคม - โฮจิมินห์ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเวียดนามเหนือ
5 มีนาคม - วินสตัน เชอร์ชิลล์ ใช้คำว่า "ม่านเหล็ก (Iron Curtain)" เป็นครั้งแรก ในการกล่าวสุนทรพจน์ ที่มิสซูรี ซึ่งอาจถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็น
17 เมษายน - ซีเรียประกาศเอกราช
25 พฤษภาคม - จอร์แดนประกาศเอกราช
9 มิถุนายน -
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในหลวงรัชกาลที่ 8 เสด็จสวรรคตด้วยต้องพระแสงปืน ภายในห้องพระบรรทม เวลาประมาณ 9.20 น.
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงขึ้นครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 9 ต่อจากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
10 มิถุนายน - อิตาลีถูกประกาศเป็นสาธารณรัฐ
4 กรกฎาคม - ฟิลิปปินส์ได้รับเอกราชจากสหรัฐอเมริกา
17 สิงหาคม - เนเธอร์แลนด์และโปรตุเกสลงนามในสนธิสัญญาเกี่ยวกับเกาะติมอร์โดยแบ่งเกาะนี้เป็นสองส่วน ส่วนตะวันตกเป็นของเนเธอร์แลนด์ ส่วนตะวันออกเป็นของโปรตุเกส
13 ตุลาคม - ฝรั่งเศส ประกาศรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่4
4 พฤศจิกายน - สหประชาชาติ ได้จัดตั้ง ยูเนสโก
13 พฤศจิกายน - วินเซนต์ แชเฟอร์ได้คิดค้นฝนเทียมเป็นครั้งแรกของโลก
19 พฤศจิกายน - รัฐบาลไทยประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล
วันเกิด
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2489
มกราคม
1 มกราคม - ทิพาวดี เมฆสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม, อดีตปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2 มกราคม - โกะโร อิบุกิ นักแสดงชายชาวญี่ปุ่น
5 มกราคม
ไดแอน คีตัน นักแสดงชาวอเมริกัน
สันติ เศวตวิมล นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ พิธีกรชาวไทย
6 มกราคม - อะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ มุสลิมชาวอียิปต์
11 มกราคม - นฤชาติ บุญสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา
19 มกราคม
ดอลลี พาร์ตัน นักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดงชาวอเมริกัน
สุเชาว์ พงษ์วิไล นักแสดงชาวไทย
20 มกราคม - เออร์บิโต ซาวาลาเรีย นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
21 มกราคม - ซูซูมุ ฮานากาตะ แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น
26 มกราคม - มีแชล เดลแปร์ช นักร้อง นักแต่งเพลง และ นักแสดงชายชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 2 มกราคม พ.ศ. 2559)
กุมภาพันธ์
1 กุมภาพันธ์ - วีนมอง (นักมวยสากล) นักมวยสากลสมัครเล่นชาวพม่า
2 กุมภาพันธ์ - อีซาเอียส อาเฟเวร์กี ประธานาธิบดีเอริเทรีย
5 กุมภาพันธ์ - ชาร์ลอตต์ แรมพลิง นักแสดงชาวอังกฤษ
6 กุมภาพันธ์ - อภินันท์ ปวนะฤทธิ์ อดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
7 กุมภาพันธ์ - กรุง ศรีวิไล นักแสดงชาวไทย
11 กุมภาพันธ์
เจฟฟรีย์ กิโตเมอร์ นักเขียน, นักพูดอาชีพ และผู้ฝึกอบรมธุรกิจชาวอเมริกัน
ฉันทนา ธาราจันทร์ นักพากย์ การ์ตูนและอดีตนักแสดงชาวไทย
ผาสุก พงษ์ไพจิตร นักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย
12 กุมภาพันธ์ - ประยงค์ ชื่นเย็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง
15 กุมภาพันธ์
ดุสิต ศิริวรรณ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ราชบัณฑิต พระราชาคณะเจ้าคณะรอง
สุชาดา กีระนันทน์ อดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21 กุมภาพันธ์ - แอลัน ริกแมน นักแสดงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 14 มกราคม พ.ศ. 2559)
24 กุมภาพันธ์ - ไมเคิล แรดฟอร์ด ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวอังกฤษ
25 กุมภาพันธ์ - ณฐนนท ทวีสิน อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร
26 กุมภาพันธ์ - โคลิน เบลล์ อดีตนักฟุตบอลชาวอังกฤษ
มีนาคม
3 มีนาคม - จอห์น เวอร์โก อดีตนักสนุกเกอร์อาชีพชาวอังกฤษ
5 มีนาคม - ทรงชัย รัตนสุบรรณ โปรโมเตอร์มวยไทย
8 มีนาคม - วิชา มหาคุณ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
9 มีนาคม - วิถี พานิชพันธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีล้านนา
13 มีนาคม
โยนาทัน เนทันยาฮู นายทหารกองกำลังป้องกันอิสราเอล (IDF) (ถึงแก่กรรม 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2519)
รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส นักร้องลูกกรุงหญิงชาวไทย
14 มีนาคม - เจ้าชายคริสเตียน-ซีกิสมุนด์แห่งปรัสเซีย
15 มีนาคม - เนโอมี โฟเนอร์ จิลเลนฮอล นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
16 มีนาคม - วีระพันธ์ โกมลเสน นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย
26 มีนาคม - คมน์ อรรฆเดช อดีตนักแสดง, ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555)
27 มีนาคม - ไมเคิล อริส นักเขียนหนังสือ (ถึงแก่กรรม 27 มีนาคม พ.ศ. 2542)
28 มีนาคม
เรืองโรจน์ มหาศรานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด
เฮนรี่ พอลสัน รัฐมนตรีกระทรวงการคลังสหรัฐอเมริกา
เมษายน
1 เมษายน - ชินกร ไกรลาศ นักร้องลูกทุ่งชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ (ถึงแก่กรรม 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)
2 เมษายน - ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10
12 เมษายน - ชูชาติ หาญสวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปทุมธานี อดีตรัฐมนตรี
13 เมษายน - อัล กรีน นักร้องชาวอเมริกัน
14 เมษายน - คัง อก-ซุน อดีตนักวอลเลย์บอลหญิงชาวเกาหลีเหนือ
17 เมษายน - ยงยุทธ นพเกตุ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ
19 เมษายน - กฤตย์ รัตนรักษ์ อดีตเจ้าของธนาคารกรุงศรีอยุธยา และอดีตสมาชิกวุฒิสภา
22 เมษายน - กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่
25 เมษายน
ทาเลีย ไชร์ นักแสดงชาวอเมริกัน
ชาญชัย ลิขิตจิตถะ องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส (ถึงแก่กรรม 18 มกราคม พ.ศ. 2560)
28 เมษายน - ไชยวัฒน์ วรรณานนท์ ศิลปินชาวไทย
29 เมษายน - อเล็กซานเดอร์ โวลส์ชาน นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์
30 เมษายน
สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ ประมุขแห่งราชอาณาจักรสวีเดน
มอนิก โบโด นักการทูตชาวฝรั่งเศส
พฤษภาคม
2 พฤษภาคม
ประกอบ ตันติยาพงศ์ อดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง
เลสลีย์ กอร์ นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 16 มีนาคม พ.ศ. 2558)
5 พฤษภาคม
วิรุณ ตั้งเจริญ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สเวน วาม นักแสดงภาพยนตร์ชาวนอร์เวย์ (ถึงแก่กรรม 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)
10 พฤษภาคม - บิรูเต กัลดิกาส์ นักวานรวิทยา นักอนุรักษ์ นักศึกษาพฤติกรรมสัตว์
11 พฤษภาคม - เทวัญ ทรัพย์แสนยากร นักแซกโซโฟนแจ๊สชาวไทย
12 พฤษภาคม - ภาวิช ทองโรจน์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16 พฤษภาคม - ประวิทย์ มาลีนนท์ อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด
17 พฤษภาคม - สุภัททา ปิณฑะแพทย์
19 พฤษภาคม
วิจิตร สุขสมปอง นักยิงธนูชาวไทย
อ็องเดรเดอะไจแอนต์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 27 มกราคม พ.ศ. 2536)
20 พฤษภาคม - แชร์ นักร้อง นักแสดงชาวอเมริกัน
22 พฤษภาคม - จอร์จ เบสต์ นักฟุตบอลทีมชาติไอร์แลนด์เหนือ
27 พฤษภาคม - พนม นพพร นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
30 พฤษภาคม - ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา
มิถุนายน
2 มิถุนายน - นาท ภูวนัย นักแสดงชายชาวไทย
9 มิถุนายน - สุทิศา พัฒนุช นักแสดงชาวไทย
10 มิถุนายน - พีรพันธุ์ พาลุสุข นักการเมืองชาวไทย (ถึงแก่กรรม 30 เมษายน พ.ศ. 2557)
11 มิถุนายน - วิทยา ปิณฑะแพทย์ อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา และ อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี
14 มิถุนายน - ดอนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา คนที่ 45 นักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์
18 มิถุนายน - ฟาบีโอ กาเปลโล อดีตนักฟุตบอลชาวอิตาลี เป็นอดีตผู้จัดการทีมทีมชาติอังกฤษ
20 มิถุนายน - ชานานา กุฌเมา นักการเมืองชาวติมอร์-เลสเต ประธานาธิบดีติมอร์-เลสเต นายกรัฐมนตรีติมอร์-เลสเตคนที่สี่
22 มิถุนายน - ยูแซฟ ออแล็กซือ นักการเมืองชาวโปแลนด์ (ถึงแก่กรรม 9 มกราคม พ.ศ. 2558)
กรกฎาคม
6 กรกฎาคม
จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 43
ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน นักแสดงชาวอเมริกัน
7 กรกฎาคม - พรทิพย์ ณรงค์เดช ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท เคพีเอ็น กรุ๊ป คอร์ปอเรชั่น จำกัด และอดีตรองผู้จัดการใหญ่ บริษัท สยามกลการ จำกัด (ถึงแก่กรรม 16 ตุลาคม พ.ศ. 2556)
9 กรกฎาคม - นอร์เบิร์ต ไวส์เซอร์ นักแสดงภาพยนตร์ขาวเยอรมนี
11 กรกฎาคม - ณรงค์ นุ่นทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 4 สมัย
15 กรกฎาคม
ลินดา รอนสตัดต์ นักร้องชาวอเมริกัน
สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ สุลต่านบรูไน
20 กรกฎาคม
ทีนจอ นักเขียนและนักวิชาการชาวพม่า อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า คนที่ 9
สดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง
22 กรกฎาคม - มงคล จงสุทธนามณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย
23 กรกฎาคม - เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการหลายจังหวัด
29 กรกฎาคม - เอนอช ซู กุทเทินแบร์ค วาทยากรชาวเยอรมัน (ถึงแก่กรรม 15 มิถุนายน พ.ศ. 2561)
30 กรกฎาคม - ณรงค์ จันทร์เรือง นักเขียนชาวไทย (ถึงแก่กรรม 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557)
สิงหาคม
1 สิงหาคม - จอร์จ กิลเลอร์โม
3 สิงหาคม
ตี้ หลุง นักแสดงชาวฮ่องกง
ริกกี้ ฮุย อดีตนักแสดงและนักร้องชาวฮ่องกง
วิชัย สุริยุทธ ตำรวจชาวไทย
4 สิงหาคม - เอกชัย วารุณประภา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง
6 สิงหาคม - โน มู-ฮย็อน ประธานาธิบดีของเกาหลีใต้คนที่ 9 (ถึงแก่กรรม 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2552)
7 สิงหาคม - จอห์น ครอมเวล เมเทอร์ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์และนักจักรวาลวิทยาชาวอเมริกัน
9 สิงหาคม - เจอร์รี โมเซส นักเบสบอลชาวอเมริกัน
13 สิงหาคม - ชิดชัย วรรณสถิตย์ รองนายกรัฐมนตรี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รักษาการนายกรัฐมนตรี
14 สิงหาคม - ภักดี ชินจินดา นักปั่นจักรยานชาวไทย
15 สิงหาคม - จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมไทย อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
17 สิงหาคม
แพทริก แมนนิง นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 และ 6 แห่งสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (ถึงแก่กรรม 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2559)
พระองค์เจ้านโรดม วิชรา (ถึงแก่กรรม 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556)
ศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์ พระธิดาใน พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร
19 สิงหาคม
ชาลส์ โบลเดน อดีตนักบินอวกาศชาวอเมริกัน
ณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
บิล คลินตัน ประธานาธิบดีคนที่ 42 แห่งสหรัฐอเมริกา
23 สิงหาคม - คีธ มูน นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2559)
24 สิงหาคม - โรดอลโฟ มาร์ติเนซ นักมวยสากลชาวเม็กซิโก
25 สิงหาคม - ไพฑูรย์ สินลารัตน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
29 สิงหาคม - สมบัติ ศรีสุรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
30 สิงหาคม
บรรเทา ศรีสุข นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย- สมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ
พิจิตต รัตตกุล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
กันยายน
1 กันยายน - แบร์รี กิบบ์ นักร้อง นักแต่งเพลง นักกีตาร์ชาวอังกฤษ
2 กันยายน - ศิริพร วงศ์สวัสดิ์ นักแสดง นักร้อง นักพากย์ พิธีกร และนักธุรกิจชาวไทย (ถึงแก่กรรม 17 มกราคม พ.ศ. 2559)
4 กันยายน
ธนา เมตตาริกานนท์ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี- อัสปาซียา มาโนส
อุเทน บุญยงค์ อดีตนักแสดงชายชาวไทย
5 กันยายน - เฟรดดี เมอร์คูรี นักร้องชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 24 กันยายน พ.ศ. 2534)
6 กันยายน - พิชาญเมธ ม่วงมณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 3
7 กันยายน - แอลัน วุดเวิร์ด อดีตนักฟุตบอลชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558)
12 กันยายน - ยงยุทธ สุวภาพ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่
14 กันยายน - รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
15 กันยายน
ทอมมี ลี โจนส์ นักแสดงชายชาวอเมริกัน
โอลิเวอร์ สโตน ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
18 กันยายน
ประสาท พงษ์ศิวาภัย คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ศรีราชา วงศารยางกูร ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
อะกิระ คะมิยะ นักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น
19 กันยายน - ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
23 กันยายน - จอห์น วู ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกง
26 กันยายน - โตะโกะ อิกะวะ นักแสดงชายชาวญี่ปุ่น
30 กันยายน - โกลด วอรีลง ผู้ก่อตั้งและผู้นำคนปัจจุบันของลัทธิราแอล
ตุลาคม
2 ตุลาคม - สนธิ บุญยรัตกลิน อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทย ผู้บัญชาการทหารบกของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
4 ตุลาคม
ชัค เฮเกล นักการเมืองชาวอเมริกัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา สมาชิกวุฒิสภาจากรัฐเนแบรสกา
ซูเซิน ซาแรนดอน นักแสดงชาวอเมริกัน
6 ตุลาคม - ยุกิโกะ โคะบะยะชิ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
7 ตุลาคม - สมเด็จพระราชินีซาเลฮาแห่งบรูไน สมเด็จพระราชินีแห่งบรูไน
9 ตุลาคม - ธัญยธรณ์ ขันทปราบ รองศาสตราจารย์ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
10 ตุลาคม
เก็นจิโร อะระโตะ นักแสดง, ผู้ผลิตภาพยนตร์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวญี่ปุ่น
นะโอะโตะ คัง นายกรัฐมนตรีคนที่ 94 ของประเทศญี่ปุ่น
12 ตุลาคม - คริส นิคอลล์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ ฟุตบอลทีมชาติไอร์แลนด์เหนือ
16 ตุลาคม - นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ประติมากรชาวไทย ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (วิจิตรศิลป์) (ถึงแก่กรรม 21 มกราคม พ.ศ. 2560)
19 ตุลาคม - ฟิลิป พูลแมน นักเขียนชาวอังกฤษ
20 ตุลาคม - เอลฟรีเดอ เยลิเนค นักเขียนชาวออสเตรีย
22 ตุลาคม - ทีปัก โจปรา ชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดีย
31 ตุลาคม - ทวีศักดิ์ อับดุลบุตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี
พฤศจิกายน
4 พฤศจิกายน - ลอรา บุช อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา ภรรยาของอดีตประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช
6 พฤศจิกายน - แซลลี ฟิลด์ นักแสดงและผู้กำกับชาวอเมริกัน
8 พฤศจิกายน - คืส ฮิดดิงก์ ผู้จัดการทีมฟุตบอลและอดีตนักฟุตบอลชาวดัตช์
11 พฤศจิกายน - กฤษณพงศ์ กีรติกร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
13 พฤศจิกายน - ศุภพร มาพึ่งพงศ์ ผู้พากย์กีฬาชาวไทย (ถึงแก่กรรม 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550)
20 พฤศจิกายน
ยึม กิจจแส นักเขียนชาวกัมพูชา
อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก อัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวง
21 พฤศจิกายน - ปาน พึ่งสุจริต อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
23 พฤศจิกายน - พิไล พูลสวัสดิ์ นักวิทยาศาสตร์และนักปักษีวิทยาชาวไทย
24 พฤศจิกายน
นีกูเลา ดุช ไรช์ ลูบาตู ประธานาธิบดีติมอร์-เลสเต
สุทธิชัย หยุ่น เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน
25 พฤศจิกายน - วิรัตน์ วชิรรัตนวงศ์ ครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน
27 พฤศจิกายน - กาลีนา อะเลคเซเยวา อดีตนักกระโดดน้ำชาวรัสเซีย
ธันวาคม
1 ธันวาคม - สฤต สันติเมทนีดล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และแบบบัญชีรายชื่อ
2 ธันวาคม
จานนี เวอร์ซาเช นักออกแบบเสื้อผ้าชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2540)
ศิริมงคล ลูกศิริพัฒน์ นักมวยไทยชาวไทย
3 ธันวาคม - อินฟันเตมิเกล ดยุกแห่งวีเซว
4 ธันวาคม - เจิ้ง เพ่ยเพ่ย นักแสดงหญิงชาวจีน
5 ธันวาคม
โคเซ การ์เรรัส นักร้องอุปรากรเสียงเทเนอร์ชาวสเปน
นิวัติ กองเพียร คอลัมนิสต์ นักหนังสือพิมพ์ชาวไทย
6 ธันวาคม - นพพร สุวรรณพานิช นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนชาวไทย (ถึงแก่กรรม 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553)
10 ธันวาคม - ปราจีน ทรงเผ่า นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
13 ธันวาคม - เจ้าหญิงมารีอา ดา กลอเรีย ดัสเชสแห่งเซกอร์เบ อดีตพระชายาของเจ้าชายอเล็กซานเดอร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย
14 ธันวาคม
จิลมา รูเซฟ ประธานาธิบดีคนที่ 36 ของประเทศบราซิล
สัญชัย คานธี นักการเมืองชาวอินเดีย (ถึงแก่กรรม 23 มิถุนายน พ.ศ. 2523)
16 ธันวาคม - อิสสระ สมชัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ
18 ธันวาคม - สตีเวน สปีลเบิร์ก ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
20 ธันวาคม - ดิก วุล์ฟ นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
24 ธันวาคม - เจฟฟ์ เซสชันส์ นักการเมืองชาวอเมริกัน อัยการสูงสุดสหรัฐ
25 ธันวาคม
กฤษดาภรณ์ เสียมภักดี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงใหม่
อดุล จันทรศักดิ์ ศิลปินแห่งชาติ ข้าราชการตุลาการ
27 ธันวาคม - โจ คินเนียร์ ผู้จัดการทีมนิวคาสเซิล ยูไนเต็ด และอดีตนักฟุตบอล
30 ธันวาคม - แพตตี สมิธ นักร้อง-นักแต่งเพลง นักดนตรี นักกวี และศิลปินชาวอเมริกัน
ไม่ทราบวัน
นวมทอง ไพรวัลย์ การเมืองภาคประชาชน (ถึงแก่กรรม 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549)
ไป่ เปียว นักแสดงชาวจีน
ลี้ ต๊ง นักบินเครื่องบินรบแห่งกองทัพอากาศเวียดนามใต้
วิทยากร เชียงกูล คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
วิทยาน้อย สิงห์ยอดฟ้า นักมวยสากลชาวไทย
อัศวิน รัตนประชา นักแสดงชาวไทย
วันถึงแก่กรรม
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2489
2 มีนาคม - เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) เจ้าผู้ครองนครจำปา
19 พฤษภาคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ทหารบกชาวไทย
6 มิถุนายน - แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์ นักเขียนชาวโปแลนด์
9 มิถุนายน - พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระมหากษัตริย์ไทย
11 มิถุนายน - พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม พระราชธิดา รัชกาลที่ 5
16 สิงหาคม - เจ้าชายฟุชิมิ ฮิโระยะซุ ทหารชาวญี่ปุ่น
22 สิงหาคม - พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) ทหารบกชาวไทย
28 สิงหาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย
20 กันยายน - พระครูวรเวทมุนี (อี๋ พุทธสโร) ภิกษุชาวไทย
22 พฤศจิกายน - พระครูสังวรโสภณ (สาย ติสสโร) ภิกษุชาวไทย
9 ตุลาคม - พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) สังฆมนตรี
รางวัล
รางวัลโนเบล
สาขาเคมี – James Batcheller Sumner, John Howard Northrop, Wendell Meredith Stanley
สาขาวรรณกรรม – แฮร์มันน์ เฮสเซอ
สาขาสันติภาพ – เอมิลี กรีน บัลช์, จอห์น อาร์ มอตต์
สาขาฟิสิกส์ – Percy Williams Bridgman
สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – เฮอร์แมนน์ โจเซฟ มุลเลอร์
หมวดหมู่:
- พ.ศ. 2489
- บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์
(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.232","walltime":"0.318","ppvisitednodes":"value":718,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":21235,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":606,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":6,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":0,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 130.752 1 -total"," 42.92% 56.116 1 แม่แบบ:ต้องการอ้างอิง"," 40.75% 53.287 1 แม่แบบ:กล่องรวมปี"," 34.74% 45.423 1 แม่แบบ:ปีในปฏิทินอื่น"," 28.76% 37.610 1 แม่แบบ:Ambox"," 10.40% 13.597 2 แม่แบบ:Further"," 5.34% 6.983 1 แม่แบบ:โครงปี"," 2.88% 3.770 1 แม่แบบ:หมวดโครง"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.045","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1539617,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1275","timestamp":"20190414190508","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1e.u0e28. 2489","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2489","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q18610","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q18610","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-06-28T23:09:59Z","dateModified":"2019-04-11T14:59:24Z","headline":"u0e1bu0e35"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":137,"wgHostname":"mw1272"););