Skip to main content

หน้าหลัก ป้ายบอกทาง โครงการพี่น้อง ภาษาอื่น รายการเลือกการนำทางรีเฟรชคอมมอนส์มีเดียวิกิเมทาวิกิวิกิตำราวิกิสนเทศวิกิคำคมวิกิซอร์ซวิกิสปีชีส์วิกิพจนานุกรม

อันดับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสปีชีส์ทวีปแอนตาร์กติกาหนูกระรอกแพรรีด็อกเม่นชิปมังก์เม่นบีเวอร์หนูตะเภาแฮมสเตอร์เจอร์บิลแคพิบารากระต่ายกระต่ายแจ็กกระแตไพกาตุ่นชูการ์ไกลเดอร์อันดับกระต่ายเคลดกลิเรสพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเอลซัลวาดอร์กัวเตมาลาเม็กซิโกวันรัฐธรรมนูญเนวิล เชมเบอร์ลิน9 พฤษภาคม11 พฤษภาคมมูลนิธิวิกิมีเดียโครงการรุ่นภาษาอื่น










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




หน้าหลัก




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา







ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย

สารานุกรมเสรีที่ทุกคนแก้ไขได้

วิกิพีเดียภาษาไทยมี 130,981 บทความ




 


ค้นหา: เรียงตามตัวอักษร • หมวดหมู่ | ดูหน้าทั้งหมด





บทความคัดสรรเดือนนี้

กระรอกข้างลายท้องแดง

อันดับสัตว์ฟันแทะ (กระรอกข้างลายท้องแดงในภาพ) เป็นหนึ่งในอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเป็นประมาณร้อยละ 40 ของสปีชีส์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด สัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะมีถิ่นอาศัยอยู่บนหลายทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา


วิธีการอยู่อาศัยของสัตว์ฟันแทะมีความหลากหลาย เช่น การอาศัยอยู่บนต้นไม้ การขุดรูอาศัยใต้ดิน หรือการอาศัยแบบครึ่งบกครึ่งน้ำ ชนิดของสัตว์ฟันแทะที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี ได้แก่ หนู กระรอก แพรรีด็อก เม่น ชิปมังก์ เม่น บีเวอร์ หนูตะเภา แฮมสเตอร์ เจอร์บิล แคพิบารา เป็นต้น ในขณะที่กระต่าย กระต่ายแจ็ก กระแต ไพกา ตุ่น และชูการ์ไกลเดอร์ไม่ถูกนับว่าเป็นสัตว์ฟันแทะถึงแม้จะมีรูปลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกัน และกระต่าย กระต่ายแจ็ก และไพกามีฟันดัดหน้าที่สามารถเติบโตได้เรื่อย ๆ แต่มีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน และมีพฤติกรรมการเคี้ยวที่ต่างจากสัตว์ฟันแทะ อีกทั้งสัตว์เหล่านี้มีประวัติการวิวัฒนาการที่แตกต่างจากสัตว์ฟันแทะที่แท้จริง จึงได้ถูกจัดให้อยู่ในอันดับกระต่าย โดยอันดับกระต่ายและอันดับสัตว์ฟันแทะเป็น "พี่น้อง" ซึ่งมีบรรพบุรุษร่วมกันที่ฐานและสร้างเคลดที่มีชื่อกลิเรส (Glires) (อ่านต่อ...)


บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: โลก – เทย์เลอร์ สวิฟต์ – ดูกี

ที่เก็บถาวรบทความคัดสรรอื่น ๆ


รู้ไหมว่า...

เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
การคุกเข่าของวิลลี บรันท์

  • ...การคุกเข่าของวิลลี บรันท์ (ในภาพ) กระทำขึ้นเพื่อแสดงความรับผิดชอบในฐานะที่เยอรมนีเคยกระทำผิดต่อประเทศอื่น

  • ...เทศกาลซิกข์ โฮลา โมหัลลา มักตรงกับหนึ่งวันหลังโฮลี เทศกาลเฉลิมฉลองของฮินดู และอาจมีบางปีที่ตรงกับโฮลีพอดี

  • ...กองกำลังทหารพรานจังหวัดชายแดนภาคใต้นับเป็นหนึ่งในกองกำลังที่เผชิญกับสงครามภายในที่ยาวนานที่สุด

  • ...ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปสามารถสรุปใจความได้ว่า สสารที่มีมวลทำให้ปริภูมิ-เวลามีความโค้ง และความโค้งของปริภูมิ-เวลาเป็นตัวกำหนดการเคลื่อนที่ของสสาร

  • ...วอลกา-วอลกาได้รับการกล่าวขานว่าเป็นภาพยนตร์โปรดของโจเซฟ สตาลิน



เรื่องที่ผ่านมาสร้างบทความใหม่เสนอบทความ



เรื่องจากข่าว


พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว



  • สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ในภาพ)


  • วอลอดือมือร์ แซแลนสกึย ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดียูเครน

  • มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 250 คน และผู้บาดเจ็บหลายร้อยคนจากเหตุลอบวางระเบิดที่โบสถ์และโรงแรมทั่วประเทศศรีลังกา

  • นักวิทยาศาสตร์ค้นพบไอออนฮีเลียมไฮไดรด์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติที่เนบิวลาดาวเคราะห์เอ็นจีซี 7027


  • เกิดเหตุเพลิงไหม้อย่างหนักจนสร้างความเสียหายแก่อาสนวิหารน็อทร์-ดามในกรุงปารีส


บุคคลที่เพิ่งเสียชีวิตเหตุการณ์ปัจจุบัน


วันนี้ในอดีต


10 พฤษภาคม: วันแม่ในเอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา และเม็กซิโก; วันรัฐธรรมนูญในสหพันธรัฐไมโครนีเซีย



เนวิล เชมเบอร์ลิน




  • พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) – คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสและลูกเรือ เป็นชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เดินทางถึงหมู่เกาะเคย์แมนในทะเลแคริบเบียน โดยตั้งชื่อว่า ลาส ตอร์ตูกาส


  • พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) – หอศิลป์แห่งชาติในกรุงลอนดอนเปิดต่อสาธารณะ ในอดีตทาวน์เฮาส์ของนักสะสม จอห์น จูเลียส แองเกอร์สไตน์


  • พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) – เจ. เอ็ดการ์ ฮูเวอร์ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานสอบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกาคนแรก


  • พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) – เนวิล เชมเบอร์ลิน (ในภาพ) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ประกาศลาออก และเสนอให้วินสตัน เชอร์ชิลล์สืบตำแหน่งอย่างเป็นทางการ


  • พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) – สงครามโลกครั้งที่สอง: รูดอล์ฟ เฮสส์ ผู้นำพรรคนาซี โดดร่มสู่ประเทศสกอตแลนด์ ในความพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักร

ดูเพิ่ม: 9 พฤษภาคม – 10 พฤษภาคม – 11 พฤษภาคม



จดหมายเหตุรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต





สารานุกรม









  • หมวดหมู่:ธรรมชาติธรรมชาติ


  • หมวดหมู่:ศิลปะศิลปะ





  • หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์


  • หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์





  • หมวดหมู่:เทคโนโลยีเทคโนโลยี


  • หมวดหมู่:ความเชื่อความเชื่อ





  • หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์


  • หมวดหมู่:สังคมสังคม





  • หมวดหมู่:ประเทศไทยประเทศไทย


  • วิกิพีเดีย:สถานีย่อยสถานีย่อย



ป้ายบอกทาง



  • ศาลาประชาคม – กระดานข่าว โครงการ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง


  • แผนกช่วยเหลือ – ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย


  • ปุจฉา-วิสัชนา – ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้


  • ข่าวไซต์ – ประกาศ อัพเดต บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย


  • สภากาแฟ – สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย


  • Local Embassy – For Wikipedia-related discussion in languages other than Thai.


โครงการพี่น้อง


วิกิพีเดียดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร ผู้ดำเนินการอีกหลายโครงการ ได้แก่





















คอมมอนส์


คอมมอนส์
คลังสื่อเสรี

มีเดียวิกิ


มีเดียวิกิ
การพัฒนาซอฟต์แวร์วิกิ

เมทาวิกิ


เมทาวิกิ
ศูนย์ประสานงานโครงการวิกิมีเดีย

วิกิตำรา


วิกิตำรา
ตำราและคู่มือเสรี

วิกิสนเทศ


วิกิสนเทศ
ฐานความรู้เสรี

วิกิคำคม


วิกิคำคม
แหล่งรวบรวมคำพูดเสรี

วิกิซอร์ซ


วิกิซอร์ซ
เอกสารต้นฉบับเสรี

วิกิสปีชีส์


วิกิสปีชีส์
สารบบอนุกรมวิธานเสรี

วิกิพจนานุกรม


วิกิพจนานุกรม
พจนานุกรมและอรรถาภิธานเสรี


ภาษาอื่น


นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีก 300 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้


  • 1,000,000 บทความขึ้นไป:
    • English (อังกฤษ)

    • Sinugboanong Binisaya (เซบู)

    • Svenska (สวีเดน)

    • Deutsch (เยอรมัน)

    • Français (ฝรั่งเศส)

    • Nederlands (ดัตช์)

    • Русский (รัสเซีย)

    • Español (สเปน)

    • Italiano (อิตาลี)

    • Polski (โปแลนด์)

    • Winaray (วาราย-วาราย)

    • Tiếng Việt (เวียดนาม)

    • 日本語 (ญี่ปุ่น)

    • 中文 (จีน)

    • Português (โปรตุเกส)



  • 250,000 บทความขึ้นไป:
    • Українська (ยูเครน)

    • فارسی (เปอร์เซีย)

    • العربية (อาหรับ)

    • Српски / Srpski (เซอร์เบีย)

    • Català (กาตาลัน)

    • Norsk (bokmål) (นอร์เวย์)

    • Srpskohrvatski / српскохрватски (เซิร์บ-โครแอต)

    • Suomi (ฟินแลนด์)

    • Bahasa Indonesia (อินโดนีเซีย)

    • Magyar (ฮังการี)

    • 한국어 (เกาหลี)

    • Čeština (เช็ก)

    • Bahasa Melayu (มลายู)

    • Türkçe (ตุรกี)

    • Euskara (บาสก์)

    • Esperanto (เอสเปรันโต)

    • Հայերեն (อาร์มีเนีย)

    • Български (บัลแกเรีย)



  • 100,000 บทความขึ้นไป:
    • Dansk (เดนมาร์ก)

    • עברית (ฮีบรู)

    • Slovenčina (สโลวัก)

    • Bân-lâm-gú (หมิ่นใต้)

    • Қазақша (คาซัค)

    • Minangkabau (มีนังกาเบา)

    • Нохчийн (เชเชน)

    • Hrvatski (โครแอต)

    • Lietuvių (ลิทัวเนีย)

    • Hrvatski (โครเอเชีย)

    • Slovenščina (สโลวีเนีย)

    • O‘zbek (อุซเบก)

    • Volapük (โวราปุก)

    • Eesti (เอสโตเนีย)

    • हिन्दी (ฮินดี)

    • Gallego (กาลิเซีย)

    • Norsk nynorsk (นือนอสก์)

    • Simple English (อังกฤษอย่างง่าย)

    • Ελληνικά (กรีก)

    • Latina (ละติน)

    • Azərbaycanca (อาเซอร์ไบจาน)











ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=หน้าหลัก&oldid=7569084"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.164","walltime":"0.226","ppvisitednodes":"value":217,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":25105,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":572,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":8,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":2,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":5743,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 76.265 1 -total"," 38.17% 29.112 1 แม่แบบ:โครงการพี่น้อง"," 21.67% 16.525 1 แม่แบบ:เรื่องจากข่าว"," 14.67% 11.187 1 แม่แบบ:In_the_news/image"," 7.75% 5.910 1 แม่แบบ:หน้าหลัก/ส่วนหัว"," 5.78% 4.409 1 แม่แบบ:Purge"," 4.89% 3.729 1 วิกิพีเดีย:วันนี้ในอดีต/10_พฤษภาคม"," 4.15% 3.165 1 แม่แบบ:หน้าหลัก/ลิงก์ข้ามภาษา"," 4.04% 3.080 1 แม่แบบ:บทความคัดสรร/พฤษภาคม_2562"," 3.79% 2.889 1 แม่แบบ:Yesno"],"cachereport":"origin":"mw1286","timestamp":"20190509210848","ttl":3600,"transientcontent":true););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2bu0e19u0e49u0e32u0e2bu0e25u0e31u0e01","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q5296","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q5296","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2003-03-15T19:09:51Z","dateModified":"2018-04-17T20:18:44Z","headline":"u0e2bu0e19u0e49u0e32u0e2bu0e25u0e31u0e01u0e02u0e2du0e07u0e02u0e2du0e07u0e42u0e04u0e23u0e07u0e01u0e32u0e23u0e27u0e34u0e01u0e34u0e21u0e35u0e40u0e14u0e35u0e22"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":109,"wgHostname":"mw1250"););

Popular posts from this blog

Styletc

Tórshavn Kliima | Partnerstääden | Luke uk diar | Nawigatsjuun62° 1′ N, 6° 46′ W62° 1′ 0″ N, 6° 46′ 0″ WWMOTórshavn